มาเรียนรู้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อให้ห่างไกลโรคไปด้วยกัน แค่ออกกำลังกาย หรือ กินผักผลไม้ ก็ลุ้นรางวัลได้ !! กรมอนามัย ร่วมกับศูนย์วิจัยเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกและเครื่องมือแพทย์ (A-MED) จัดการแข่งขันสร้างเสริมสุขภาพ แค่รวมทีมกันมาเรียนรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อให้ห่างไกลโรคไปด้วยกัน แจกรางวัลรวม 140 รางวัล มูลค่ากว่า 28,000 บาท สมัครเข้าร่วมกิจกรรมได้ง่ายๆ .
โครงการ Heathy Organization Engineering สะสมแต้มสุขภาพ กรอกฟอร์มเข้าร่วมกิจกรรมภายใน 5 สิงหาคม 2565 คลิ้กเพื่อกรอกฟอร์ม 🏅🎉อัพเดทการแข่งขัน กำหนดการประจำสัปดาห์ ประกาศผลรางวัล และสอบถามเพิ่มเติมได้ทาง Facebook ไทยสุข ฝากกดติดตามกันด้วยนะคะ และขอให้ทุกท่านสนุก สุขภาพดีกับกิจกรรมของเราค่ะ 🎉🏅
6 กรกฎาคม 2565 ณ ลานสุขภาพ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภาพบรรยากาศการเปิดตัวโครงการ "MED PSU x ThaiSook Healthier Challenge" การจัดกิจกรรมระหว่างคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับศูนย์วิจัยเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกและเครื่องมือแพทย์ (A-MED) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สวทช.)
(7 weeks healthy for healthcare worker) ในบุคลากรของโรงพยาบาลพระนั่งเกล้า 15 มิถุนายน 2565 ณ ห้องประชุมศรีสุลาลัย ชั้น 8 อาคารศรีสุลาลัย โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม กำหนดจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ๗ สัปดาห์สุขภาพดี
มาเรียนรู้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อให้ห่างไกลโรคไปด้วยกัน แค่ออกกำลังกาย หรือ กินผักผลไม้ ก็ลุ้นรางวัลได้ !! คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับศูนย์วิจัยเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกและเครื่องมือแพทย์ (A-MED) จัดการแข่งขันสร้างเสริมสุขภาพ แค่รวมทีมกันมาเรียนรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อให้ห่างไกลโรคไปด้วยกัน บุคคลทั่วไปก็สามารถเข้าร่วมแข่งขันได้ ไม่จำกัดเฉพาะแต่บุคลากรของ มอ. หรือ สวทช. และเรายังมีรางวัลให้ทั้งหมด 400
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ 7 สัปดาห์สุขภาพดี โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า จัดโดย กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า ร่วมกับศูนย์วิจัยเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกและเครื่องมือแพทย์ (A-MED) จัดการแข่งขันสร้างเสริมสุขภาพ ลุ้นรางวัลประจำสัปดาห์ตลอดการแข่งขัน รวมมูลค่ากว่า 22,000 บาท บุคลากร รพ.พระนั่งเกล้า สามารถสมัครเข้าร่วมกิจกรรมได้ง่ายๆ ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน ThaiSook ไทยสุข
เกณฑ์แข่งขันรายสัปดาห์ สัปดาห์ที่ 1ออกกำลังกาย(20 รางวัล)         ออกกำลัง 30 นาทีต่อครั้ง อย่างน้อย 3 ครั้งรายชื่อทีมที่ได้รางวัลสัปดาห์ที่ 2กินผักผลไม้(20 รางวัล)กินผักผลไม้เฉลี่ยอย่างน้อย 3 ส่วนต่อวัน (วิธีการประมาณ)รายชื่อทีมที่ได้รางวัลสัปดาห์ที่ 3สร้างนิสัยที่ดี(20 รางวัล)ได้คะแนนในแอปพลิเคชันอย่างน้อย 45 คะแนนในสัปดาห์รายชื่อทีมที่ได้รางวัลสัปดาห์ที่ 4เดินวิ่ง (20
ขนาดของเส้นรอบเอวที่วัดผ่านระดับสะดือ สามารถบ่งบอกถึงความเสี่ยงทางสุขภาพได้ ซึ่งวิธีการวัดเส้นรอบเอวที่ถูกต้องคือใช้สายวัดวัดรอบเอวผ่านระดับสะดือให้อยู่แนวขนานกับพื้นและไม่รัดแน่นหรือหลวมจนเกินไป แล้วเราจะทราบได้ยังไงว่าเกณฑ์ที่เหมาะสมสำหรับการวัดเส้นรอบเอวควรเป็นเท่าไหร่ เกณฑ์ที่เราจะสามารถวัดได้คือ " เกณฑ์เส้นรอบเอวที่เหมาะสมคือ ไม่ควรเกินส่วนสูง (เซนติเมตร) หาร 2 " ตัวอย่างเช่น ผู้ที่มีส่วนสูง 160 เซนติเมตร หารด้วย 2 ดังนั้น เส้นรอบเอวที่เหมาะสมจึงไม่ควรเกิน
อยากมีสุขภาพดีจะเริ่มยังไง ? แล้วจะสร้างแรงจูงใจในการออกกำลังกาย ยังไงดีนะ ? ขอเชิญชวนทุกท่าน " มาเรียนรู้วิธีดูแลสุขภาพตนเอง ให้มีสุขภาพดีตลอดไป "ผ่านการ อบรมสุขภาพดี โดย โครงการ NSTDA x ThaiSook Virtual Challenge 🎉🎉 📌กำหนดการกิจกรรม
การศึกษาโดยผู้เชี่ยวชาญจากการสนับสนุนของ กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค โดยใช้วิธีการทบทวนอย่างเป็นระบบ (systematic review) และวิเคราะห์อภิมาน (meta-analysis) พบว่าการกินผักและผลไม้ที่เพียงพอ ช่วยลดอัตราการตายจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ และยังพบว่าการกินผักเพิ่ม 1 ส่วนต่อวัน ช่วยลดโอกาสการเป็นโรคเบาหวานได้ถึงร้อยละ 10 [1] โดยกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แนะนำว่าใน 1