การทดสอบสมรรถภาพทางกาย – ความอ่อนตัว (Flexibility)

การทดสอบแตะมือด้านหลัง (Back scratch test) การทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการประเมินสุขภาพ และความสามารถทางร่างกายของแต่ละคน จะวัดได้จากการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ ของร่างกาย วันนี้แอดมินจะมาพูดถึงการทดสอบแตะมือด้านหลัง (Back scratch test) ร่วมถึงการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายอื่นๆ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ ( คลิก ) การเตรียมตัวก่อนทดสอบ ให้ผู้รับการทดสอบทำการยืดเหยียด กล้ามเนื้อบริเวณไหล่ สะบัก หน้าอกและแขน อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ : ไม้บรรทัดหรือสายวัด ที่แบ่งระยะเป็นเซนติเมตร วิธีการปฏิบัติ ที่มา : สสส. ข้อควรระวัง/ข้อแนะนำเพิ่มเติม ขณะเหยียดปลายมือทั้ง 2 ข้างเข้าหากัน ห้ามงอนิ้วมือมาเกี่ยวหรือดึงกัน เกณฑ์มาตรฐาน การทดสอบแตะมือด้านหลัง (เซนติเมตร) ที่มา : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) อ้างอิง: เอกสารประกอบการอบรมเพื่อเติมเต็มศักยภาพฯ ภายใต้โครงการพัฒนาแนวทางการขยายผลกระบบการสร้างเสริมสุขภาพแบบเข้มข้นจำเพาะคน โดย มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน วันที่ 11 -13 มกราคม 2566 ThaiSook I 2566

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย – ความอ่อนตัว (Flexibility)

YMCA หรือ V-sit-and-reach การทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการประเมินสุขภาพ และความสามารถทางร่างกายของแต่ละคน จะวัดได้จากการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ ของร่างกาย วันนี้แอดมินจะมาพูดถึงการทดสอบ YMCA หรือ V-sit-and-reach ร่วมถึงการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายอื่นๆ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ ( คลิก ) การเตรียมตัวก่อนทดสอบ ยืดเหยียดกล้ามเนื้อบริเวณหลัง ต้นขาด้านหลังสะโพก และไหล่ก่อนทำการทดสอบ อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ ไม้เมตร หรือเทปวัดระยะทาง ยาวไม่น้อยกว่า 25 นิ้ว แทนกล่องทดสอบ โดยการติดไม้เมตรไว้บนพื้น และใช้เทปกาวติดขวางเป็นมุมฉากที่ระยะทาง 15 นิ้ว โดยที่เทปกาวจะยาวประมาณ 10 นิ้ว วิธีปฏิบัติ ข้อควรระวัง/ข้อแนะนำเพิ่มเติม ที่มา : สสส. ค่าเกณฑ์มาตรฐาน อ้างอิง: ThaiSook I 2566

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย – ระบบไหลเวียนโลหิตและหายใจ

การทดสอบด้วยการเดิน 6 นาที (6 Minute walk test; 6MWT) การทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการประเมินสุขภาพ และความสามารถทางร่างกายของแต่ละคน จะวัดได้จากการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ ของร่างกาย วันนี้แอดมินจะมาพูดถึงการทดสอบด้วยการเดิน 6 นาที (6 Minute walk test; 6MWT) ร่วมถึงการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายอื่นๆ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ ( คลิก ) การเตรียมตัวก่อนทดสอบ อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ วิธีการปฏิบัติ ข้อควรระวัง/ข้อแนะนำเพิ่มเติม ค่าเกณฑ์มาตรฐาน คนปกติมีค่าเฉลี่ย 6MWD ประมาณ 536-560 เมตร ค่ามัธยฐานสำหรับเพศชาย และเพศหญิงเท่ากับ 576 และ 494 เมตร ตามลำดับ *Moderate to strong correlations exist (r=0.56 to r=0.88) between the 6MWT distance and peak VO2 … Read more

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย – ความแข็งแรงและความทนทานของกล้ามเนื้อ ทดสอบดันพื้น

การทดสอบดันพื้น (Push up) การทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการประเมินสุขภาพ และความสามารถทางร่างกายของแต่ละคน จะวัดได้จากการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ ของร่างกาย วันนี้แอดมินจะมาพูดถึงการทดสอบดันพื้น (Push up) ร่วมถึงการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายอื่นๆ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ ( คลิก ) การเตรียมตัวก่อนทดสอบ ยืดเหยียดกล้ามเนื้อบริเวณหลังแขน และไหล่ อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ วิธีการปฏิบัติ ข้อควรระวัง/ข้อแนะนำเพิ่มเติม ค่าเกณฑ์มาตรฐาน อ้างอิง: เอกสารประกอบการอบรมเพื่อเติมเต็มศักยภาพฯ ภายใต้โครงการพัฒนาแนวทางการขยายผลกระบบการสร้างเสริมสุขภาพแบบเข้มข้นจำเพาะคน โดย มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน วันที่ 11 -13 มกราคม 2566 ThaiSook I 2566

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย – ความแข็งแรงและความทนทานของกล้ามเนื้อ ลุกยืนเก้าอี้

การทดสอบลุกยืนเก้าอี้ (Sit to stand) การทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการประเมินสุขภาพ และความสามารถทางร่างกายของแต่ละคน จะวัดได้จากการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ ของร่างกาย วันนี้แอดมินจะมาพูดถึงการทดสอบลุกยืนเก้าอี้ (Sit to stand) ร่วมถึงการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายอื่นๆ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ ( คลิก ) การเตรียมตัวก่อนทดสอบ ยืดเหยียดกล้ามเนื้อบริเวณต้นขาด้านหน้าก่อนทำการทดลอง อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ 2. นาฬิกาจับเวลา วิธีการปฏิบัติ ข้อควรระวัง/ข้อแนะนำเพิ่มเติม ค่าเกณฑ์มาตรฐาน ที่มา : กรมพลศึกษา. (2560).คู่มือแบบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐาน สมรรถภาพทางกาย ของเด็ก เยาวชน และประชาชนไทย อ้างอิง: ThaiSook I 2566

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย – การวัดองค์ประกอบของร่างกาย

การวัดองค์ประกอบของร่างกาย (ฺBody composition analysis) การทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการประเมินสุขภาพ และความสามารถทางร่างกายของแต่ละคน จะวัดได้จากการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ ของร่างกาย วันนี้แอดมินจะมาพูดถึงการวัดองค์ประกอบของร่างกาย (Body composition analysis) ร่วมถึงการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายอื่นๆ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ ( คลิก ) อุปกรณ์ที่ใช้ วิธีการทดสอบ ตัวอย่าง เช่น ผู้รับการทดสอบมีน้ำหนักตัว 50 กิโลกรัม มีส่วนสูง 1.62 เมตร ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) = 50/1.622                                  = 50/2.62                            = 19.08 กิโลกรัม/ตารางเมตร   5. วัดเส้นรอบเอวในหน่วยเซนติเมตร ในท่ายืนเท้า 2 ข้าง ห่างกันประมาณ 10 เซนติเมตร วัดที่ตรงระดับสะดือพอดี โดยควรวัดใน ช่วงหายใจออก ให้สายวัดแนบกับลำตัว ไม่รัดแน่นทำให้ระดับของสายวัดรอบเอวอยู่ในแนวขนานกับพื้น 6. วัดเส้นรอบสะโพกในหน่วยเซนติเมตร ในท่ายืนเท้า … Read more

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย – การวัดสัญญาณชีพ

การวัดสัญญาณชีพ (Vital signs) การทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการประเมินสุขภาพ และความสามารถทางร่างกายของแต่ละคน จะวัดได้จากการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ ของร่างกาย วันนี้แอดมินจะมาพูดถึงการวัดสัญญาณชีพ (Vital signs) วิธีการเตรียมตัวก่อนทดสอบ วิธีทดสอบ และค่าเกณฑ์มาตรฐาน ร่วมถึงการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายอื่นๆ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ ( คลิก ) การเตรียมตัวก่อนการทดสอบ งดเครื่องดื่ม และอาหารที่มีส่วนผสมของคาเฟอีน และแอลกอฮอล์อย่างน้อย 30 นาที วิธีการทดลอง ที่มา : สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย 2562 ค่าเกณฑ์มาตรฐาน ตารางที่ 1 ค่ามาตรฐานควาดันโลหิตขณะพักของคนไทย SBP =systolic blood pressure, DBP = diastolic blood pressure ตารางที่ 2 ค่ามาตรฐานอัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก ที่มา: กรมอนามัย 2563 อ้างอิง: เอกสารประกอบการอบรมเพื่อเติมเต็มศักยภาพฯ ภายใต้โครงการพัฒนาแนวทางการขยายผลกระบบการสร้างเสริมสุขภาพแบบเข้มข้นจำเพาะคน โดย มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน วันที่ 11 … Read more

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย

ThaiSook I 2566 การทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการประเมินสุขภาพ และความสามารถทางร่างกายของแต่ละคน จะวัดได้จากการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ เช่น ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ความอดทน ความยืดหยุ่น ความว่องไว และสภาพร่างกายโดยรวมของแต่ละบุคคล นอกจากนี้ยังสามารถประเมินระดับสมรรถภาพปัจจุบัน เพื่อนำไปใช้พัฒนาแผนการออกกำลังกาย และกำหนดเป้าหมายการออกกำลังกายได้ การทดสอบสมรรถภาพทางกาย จากการประชุมคณะกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญในสาขาที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์การกีฬา และการออกกำลังกาย 24 ท่าน เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2565 ได้สรุปรูปแบบการทดสอบสมรรถภาพทางกายสำหรับประชาชนไทย ดังนี้ อ้างอิง: เอกสารประกอบการอบรมเพื่อเติมเต็มศักยภาพฯ ภายใต้โครงการพัฒนาแนวทางการขยายผลกระบบการสร้างเสริมสุขภาพแบบเข้มข้นจำเพาะคน โดย มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน วันที่ 11 -13 มกราคม 2566 ThaiSook I 2566

การกินอาหารแปรรูปมากเกินไป เสี่ยงขาดสารอาหาร ส่งผลให้ดูแก่ก่อนวัย

ThaiSook I 2565 ปัจจุบันมีแนวโน้มที่คนส่วนใหญ่จะลืมดูแลสุขภาพของตนเองเนื่องจากการใช้ชีวิตที่เร่งรีบ และมีความเครียดสะสมจากการทำงาน จึงทำให้การเลือกกินอาหารไม่ได้รับสารอาหารเท่าที่ควร และมีแนวโน้มในการกินอาหารสำเร็จรูปหรืออาหารแปรรูปมากขึ้น เพราะมีความสะดวกและรวดเร็ว อาจส่งผลเสียต่อสุขภาพเช่น ขาดสารอาหาร ผิวพรรณเหี่ยวย่น หย่อนคล้อยดูแก่ก่อนวัย และเสี่ยงสมองเสื่อมได้ ดังนั้นเราควรดูแลสุขภาพของเราอย่างสม่ำเสมอ และเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายเพื่อป้องกันการเกิดโรค และสุขภาพที่ดีขึ้น หากกินอาหารแปรรูปมากเกินไป จะทำให้ร่างกายเสี่ยงขาดสารอาหารสำคัญ ได้แก่ 1) วิตามินและแร่ธาตุต่างๆ พบมากในผักผลไม้ มีส่วนช่วยให้กระบวนการต่างๆ ของร่างกายทำงานได้เป็นปกติ โดยเฉพาะระบบประสาทและกล้ามเนื้อ นอกจากนี้ผักผลไม้หลากสียังอุดมไปด้วยสารต้านอนุมูลอิสระช่วยป้องกันเซลล์ไม่ให้เกิดความเสียหาย หากร่างกายขาดสารอาหารเหล่านี้จะส่งผลให้เซลล์ถูกทำลายได้ง่าย ผิวหนังเหี่ยวย่นเกิดริ้วรอยก่อนวัยอันควร 2) โปรตีนเป็นองค์ประกอบโครงสร้างของเนื้อเยื่อต่างๆ ในร่างกาย ทั้งผิวหนังกระดูก กล้ามเนื้อ เล็บ เอ็น และข้อ โปรตีนยังเป็นสารอาหารสำคัญในการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอและใช้สร้างเซลล์ภูมิคุ้มกันต่างๆ ด้วย อาหารแปรรูปมักจะมีน้ำตาล ไขมัน และโซเดียมสูง แต่มีโปรตีนต่ำ หากร่างกายได้รับโปรตีนไม่เพียงพอ จะทำให้ป่วยง่าย หายช้า ผิวหนังหยาบกร้าน ดูแก่ก่อนวัย และอาจเสี่ยงสมองเสื่อมจากการขาดกรดอะมิโนจำเป็นต่อสมองอย่างทริปโตเฟน ที่พบได้ในเนื้อสัตว์ นม ไข่ 3) ใยอาหารมีส่วนสำคัญในการช่วยระบบขับถ่าย ทำให้เกิดกระบวนการหมักในลำไส้ได้กรดไขมันสายสั้นช่วยชะลอภาวะการอักเสบของสมองที่เพิ่มขึ้นตามอายุ สามารถกำจัดเซลล์มะเร็ง … Read more

4 กลุ่มวัยออกกำลังกายให้เหมาะสมเพื่อเพิ่มความอบอุ่น และสร้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย

ThaiSook I 2565 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แนะ 4 กลุ่มวัยออกกำลังกายให้เหมาะสมเพื่อเพิ่มความอบอุ่น และสร้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย พร้อมรับลมหนาว ในช่วงหน้าหนาวนี้นอกจากการสวมเสื้อผ้าที่อบอุ่น และการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์แล้ว การเตรียมความพร้อมด้วยการออกกำลังกายก็เป็นอีกวิธีหนึ่งในการเพิ่มความอบอุ่น และสร้างภูมิคุ้มกัน ดังนั้นเพื่อประสิทธิภาพในการออกกำลังกายก็ควรเลือกการออกกำลังที่เหมาะสมกับช่วงวัยของเราด้วยนะคะ วิธีการออกกำลังกายสำหรับ 4 กลุ่มวัย แต่สิ่งสำคัญของทุกวัย คือ การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ รักษาร่างกายให้อบอุ่น ควรพักผ่อนให้เพียงพอ กินอาหารประเภทผัก และผลไม้สด ที่มีวิตามินซีสูง เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย และสุขภาพดีต่อตัวเรา อ้างอิง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (2565). กรมอนามัย ชี้กินอาหารแปรรูปมาก เสี่ยงขาดสารอาหาร ทำให้ดูแก่ก่อนวัย อาจเสี่ยงสมองเสื่อม. สืบค้นจาก https://multimedia.anamai.moph.go.th/news/280865/ ThaiSook I 2565