การทดสอบสมรรถภาพทางกาย – ความอ่อนตัว (Flexibility)

การทดสอบแตะมือด้านหลัง (Back scratch test) การทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการประเมินสุขภาพ และความสามารถทางร่างกายของแต่ละคน จะวัดได้จากการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ ของร่างกาย วันนี้แอดมินจะมาพูดถึงการทดสอบแตะมือด้านหลัง (Back scratch test) ร่วมถึงการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายอื่นๆ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ ( คลิก ) การเตรียมตัวก่อนทดสอบ ให้ผู้รับการทดสอบทำการยืดเหยียด กล้ามเนื้อบริเวณไหล่ สะบัก หน้าอกและแขน อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ : ไม้บรรทัดหรือสายวัด ที่แบ่งระยะเป็นเซนติเมตร วิธีการปฏิบัติ ที่มา : สสส. ข้อควรระวัง/ข้อแนะนำเพิ่มเติม ขณะเหยียดปลายมือทั้ง 2 ข้างเข้าหากัน ห้ามงอนิ้วมือมาเกี่ยวหรือดึงกัน เกณฑ์มาตรฐาน การทดสอบแตะมือด้านหลัง (เซนติเมตร) ที่มา : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) อ้างอิง: เอกสารประกอบการอบรมเพื่อเติมเต็มศักยภาพฯ ภายใต้โครงการพัฒนาแนวทางการขยายผลกระบบการสร้างเสริมสุขภาพแบบเข้มข้นจำเพาะคน โดย มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน วันที่ 11 -13 มกราคม 2566 ThaiSook I 2566

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย – ความอ่อนตัว (Flexibility)

YMCA หรือ V-sit-and-reach การทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการประเมินสุขภาพ และความสามารถทางร่างกายของแต่ละคน จะวัดได้จากการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ ของร่างกาย วันนี้แอดมินจะมาพูดถึงการทดสอบ YMCA หรือ V-sit-and-reach ร่วมถึงการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายอื่นๆ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ ( คลิก ) การเตรียมตัวก่อนทดสอบ ยืดเหยียดกล้ามเนื้อบริเวณหลัง ต้นขาด้านหลังสะโพก และไหล่ก่อนทำการทดสอบ อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ ไม้เมตร หรือเทปวัดระยะทาง ยาวไม่น้อยกว่า 25 นิ้ว แทนกล่องทดสอบ โดยการติดไม้เมตรไว้บนพื้น และใช้เทปกาวติดขวางเป็นมุมฉากที่ระยะทาง 15 นิ้ว โดยที่เทปกาวจะยาวประมาณ 10 นิ้ว วิธีปฏิบัติ ข้อควรระวัง/ข้อแนะนำเพิ่มเติม ที่มา : สสส. ค่าเกณฑ์มาตรฐาน อ้างอิง: ThaiSook I 2566

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย – ระบบไหลเวียนโลหิตและหายใจ

การทดสอบด้วยการเดิน 6 นาที (6 Minute walk test; 6MWT) การทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการประเมินสุขภาพ และความสามารถทางร่างกายของแต่ละคน จะวัดได้จากการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ ของร่างกาย วันนี้แอดมินจะมาพูดถึงการทดสอบด้วยการเดิน 6 นาที (6 Minute walk test; 6MWT) ร่วมถึงการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายอื่นๆ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ ( คลิก ) การเตรียมตัวก่อนทดสอบ อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ วิธีการปฏิบัติ ข้อควรระวัง/ข้อแนะนำเพิ่มเติม ค่าเกณฑ์มาตรฐาน คนปกติมีค่าเฉลี่ย 6MWD ประมาณ 536-560 เมตร ค่ามัธยฐานสำหรับเพศชาย และเพศหญิงเท่ากับ 576 และ 494 เมตร ตามลำดับ *Moderate to strong correlations exist (r=0.56 to r=0.88) between the 6MWT distance and peak VO2 … Read more

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย – ความแข็งแรงและความทนทานของกล้ามเนื้อ ทดสอบดันพื้น

การทดสอบดันพื้น (Push up) การทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการประเมินสุขภาพ และความสามารถทางร่างกายของแต่ละคน จะวัดได้จากการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ ของร่างกาย วันนี้แอดมินจะมาพูดถึงการทดสอบดันพื้น (Push up) ร่วมถึงการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายอื่นๆ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ ( คลิก ) การเตรียมตัวก่อนทดสอบ ยืดเหยียดกล้ามเนื้อบริเวณหลังแขน และไหล่ อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ วิธีการปฏิบัติ ข้อควรระวัง/ข้อแนะนำเพิ่มเติม ค่าเกณฑ์มาตรฐาน อ้างอิง: เอกสารประกอบการอบรมเพื่อเติมเต็มศักยภาพฯ ภายใต้โครงการพัฒนาแนวทางการขยายผลกระบบการสร้างเสริมสุขภาพแบบเข้มข้นจำเพาะคน โดย มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน วันที่ 11 -13 มกราคม 2566 ThaiSook I 2566

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย – ความแข็งแรงและความทนทานของกล้ามเนื้อ ลุกยืนเก้าอี้

การทดสอบลุกยืนเก้าอี้ (Sit to stand) การทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการประเมินสุขภาพ และความสามารถทางร่างกายของแต่ละคน จะวัดได้จากการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ ของร่างกาย วันนี้แอดมินจะมาพูดถึงการทดสอบลุกยืนเก้าอี้ (Sit to stand) ร่วมถึงการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายอื่นๆ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ ( คลิก ) การเตรียมตัวก่อนทดสอบ ยืดเหยียดกล้ามเนื้อบริเวณต้นขาด้านหน้าก่อนทำการทดลอง อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ 2. นาฬิกาจับเวลา วิธีการปฏิบัติ ข้อควรระวัง/ข้อแนะนำเพิ่มเติม ค่าเกณฑ์มาตรฐาน ที่มา : กรมพลศึกษา. (2560).คู่มือแบบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐาน สมรรถภาพทางกาย ของเด็ก เยาวชน และประชาชนไทย อ้างอิง: ThaiSook I 2566

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย – การวัดองค์ประกอบของร่างกาย

การวัดองค์ประกอบของร่างกาย (ฺBody composition analysis) การทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการประเมินสุขภาพ และความสามารถทางร่างกายของแต่ละคน จะวัดได้จากการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ ของร่างกาย วันนี้แอดมินจะมาพูดถึงการวัดองค์ประกอบของร่างกาย (Body composition analysis) ร่วมถึงการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายอื่นๆ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ ( คลิก ) อุปกรณ์ที่ใช้ วิธีการทดสอบ ตัวอย่าง เช่น ผู้รับการทดสอบมีน้ำหนักตัว 50 กิโลกรัม มีส่วนสูง 1.62 เมตร ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) = 50/1.622                                  = 50/2.62                            = 19.08 กิโลกรัม/ตารางเมตร   5. วัดเส้นรอบเอวในหน่วยเซนติเมตร ในท่ายืนเท้า 2 ข้าง ห่างกันประมาณ 10 เซนติเมตร วัดที่ตรงระดับสะดือพอดี โดยควรวัดใน ช่วงหายใจออก ให้สายวัดแนบกับลำตัว ไม่รัดแน่นทำให้ระดับของสายวัดรอบเอวอยู่ในแนวขนานกับพื้น 6. วัดเส้นรอบสะโพกในหน่วยเซนติเมตร ในท่ายืนเท้า … Read more

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย – การวัดสัญญาณชีพ

การวัดสัญญาณชีพ (Vital signs) การทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการประเมินสุขภาพ และความสามารถทางร่างกายของแต่ละคน จะวัดได้จากการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ ของร่างกาย วันนี้แอดมินจะมาพูดถึงการวัดสัญญาณชีพ (Vital signs) วิธีการเตรียมตัวก่อนทดสอบ วิธีทดสอบ และค่าเกณฑ์มาตรฐาน ร่วมถึงการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายอื่นๆ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ ( คลิก ) การเตรียมตัวก่อนการทดสอบ งดเครื่องดื่ม และอาหารที่มีส่วนผสมของคาเฟอีน และแอลกอฮอล์อย่างน้อย 30 นาที วิธีการทดลอง ที่มา : สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย 2562 ค่าเกณฑ์มาตรฐาน ตารางที่ 1 ค่ามาตรฐานควาดันโลหิตขณะพักของคนไทย SBP =systolic blood pressure, DBP = diastolic blood pressure ตารางที่ 2 ค่ามาตรฐานอัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก ที่มา: กรมอนามัย 2563 อ้างอิง: เอกสารประกอบการอบรมเพื่อเติมเต็มศักยภาพฯ ภายใต้โครงการพัฒนาแนวทางการขยายผลกระบบการสร้างเสริมสุขภาพแบบเข้มข้นจำเพาะคน โดย มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน วันที่ 11 … Read more

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย

ThaiSook I 2566 การทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการประเมินสุขภาพ และความสามารถทางร่างกายของแต่ละคน จะวัดได้จากการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ เช่น ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ความอดทน ความยืดหยุ่น ความว่องไว และสภาพร่างกายโดยรวมของแต่ละบุคคล นอกจากนี้ยังสามารถประเมินระดับสมรรถภาพปัจจุบัน เพื่อนำไปใช้พัฒนาแผนการออกกำลังกาย และกำหนดเป้าหมายการออกกำลังกายได้ การทดสอบสมรรถภาพทางกาย จากการประชุมคณะกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญในสาขาที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์การกีฬา และการออกกำลังกาย 24 ท่าน เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2565 ได้สรุปรูปแบบการทดสอบสมรรถภาพทางกายสำหรับประชาชนไทย ดังนี้ อ้างอิง: เอกสารประกอบการอบรมเพื่อเติมเต็มศักยภาพฯ ภายใต้โครงการพัฒนาแนวทางการขยายผลกระบบการสร้างเสริมสุขภาพแบบเข้มข้นจำเพาะคน โดย มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน วันที่ 11 -13 มกราคม 2566 ThaiSook I 2566

หลักการ “3 อ.” ในการลดน้ำหนัก

ThaiSook I 2565 ปัญหาหลักของคนยุคนี้คือ น้ำหนักเกิน และรอบเอวหนา เนื่องจากคุณนั้นสนุกเพลินกับการกินและขาดการออกกำลังกาย อาจทำให้เกิดโรคอ้วนและโรคร้ายต่าง ๆ ตามมา เช่น โรคหัวใจ, เบาหวาน, ความดันโลหิตสูง หนักสุดอาจถึงขั้นเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาตได้ การตรวจสอบรอบเอวเป็นอีกวิธีที่สามารถทำให้เรารู้ได้ว่า คุณมีภาวะอ้วนลงพุง หญิงมีรอบเอวเกิน 80 ซม. และผู้ชายมีรอบเอวเกิน 90 ซม. นั่นหมายถึง คุณมีภาวะ อ้วนลงพุง เป็นสัญญาณอันตราย หากคุณมีรอบเอวเกิน หรือเริ่มมีพุง ดังนั้น คุณควรหันมาใส่ใจดูแลสุขภาพตัวเองได้แล้ว โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยหลัก “3 อ.” คือ อาหาร, ออกกำลังกาย, และ อารมณ์ หลักการ “3 อ.” ในการลดน้ำหนัก: อ.อาหาร อ.ออกกำลังกาย อ.อารมณ์ อ้างอิง ThaiSook I 2565

การออกกำลังกายแบบแอโรบิค vs แอนแอโรบิค

ThaiSook I 2565 “การออกกำลังกายแบบแอโรบิค” และ “การออกกำลังกายแบบแอนแอโรบิค” แตกต่างกันอย่างไร แล้วแบบไหนดีกว่ากัน? การออกกำลังกายแบบแอโรบิค หมายถึง การออกกำลังกายที่มีการใช้พลังงานโดยอาศัยออกซิเจนเป็นหลัก โดยลักษณะจะเป็นการออกกำลังกายที่ไม่รุนแรงมากแต่มีความต่อเนื่อง เช่น เดินวิ่งเหยาะ ๆ ถีบจักรยาน กระโดดเชือก หรือ เต้นแอโรบิก เป็นต้น จึงเป็นการออกกำลังกายที่ช่วยส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรง การออกกำลังกายแบบแอนแอโรบิค หมายถึง การออกกำลังกายที่มีการใช้พลังงานจากสารเคมีในร่างกายเป็นหลักแทนการใช้ออกซิเจน ลักษณะจะเป็นการออกกำลังกายใช้แรงมากในระยะเวลาสั้น เช่น วิ่งระยะสั้น ยกน้ำหนัก เทนนิส เป็นต้น จึงเป็นการออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างกล้ามเนื้อ และให้สามารถออกแรงได้มากในชั่วระยะเวลาสั้น ๆ ออกกำลังกายมาก-น้อย แค่ไหนจึงจะมีประโยชน์ต่อหัวใจ การออกกำลังกายที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อหัวใจและปอด คือ ออกกำลังกายมากพอที่จะทำให้หัวใจเต้น (หรือชีพจร) มีค่าระหว่าง 60-80% ของอัตราการเต้นสูงสุดของหัวใจของบุคคลนั้น ๆ ซึ่งอัตราการเต้นสูงสุดของหัวใจ ประมาณคร่าว ๆ จะเท่ากับ 220-อายุ(ปี) ตัวอย่าง เช่น คนอายุ 50 ปี มีอัตราการเต้นสูงสุดของหัวใจ เท่ากับ … Read more